วันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2560

หน้าแรก




รูปภาพที่  1  สัญลักษณ์ของโปรแกรม Adobe Illustrator CS6
ประวัติความเป็นมาของ illustrator
อะโดบี อิลลัสเตรเตอร์ (อังกฤษ: Adobe Illustrator) เป็นโปรแกรมวาดภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์ ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ รุ่นแรก จัดทำขึ้นในปี ค.ศ. 1986 เพื่อใช้งานกับเครื่องแมคอินทอช และได้พัฒนารุ่นที่ ออกมาให้ใช้งานได้กับวินโดวส์ ซึ่งได้รับความพึงพอใจ และ การตอบรับที่ดีจากผู้ใช้เป็นจำนวนมาก จนปัจจุบันได้พัฒนาออกมาจนถึงรุ่นที่ 16 และได้รวบรวมเข้าไปเป็น ในโปรแกรมชุด Adobe Creative Suite
รุ่นต่าง ๆ
·         Adobe Illustrator 1.0 (Mac OS) (มกราคม ค.ศ. 1987)
·         Adobe Illustrator 1.1 (Mac OS) (มีนาคม ค.ศ. 1997)
·         Adobe Illustrator 88 (Mac OS) (มีนาคม ค.ศ. 1988)
·         Adobe Illustrator 2.0 (Windows) (มกราคม ค.ศ. 1989)
·         Adobe Illustrator 3.0 (Mac OS) (ตุลาคม ค.ศ. 1990)
·         Adobe Illustrator 3.5 (Solaris, Silicon Graphics) (ค.ศ. 1990)
·         Adobe Illustrator 4.0 (Windows) (พฤษภาคม ค.ศ. 1992)
·         Adobe Illustrator 5.0 (Mac OS) (มิถุนายน ค.ศ. 1993)
·         Adobe Illustrator 5.5 (Mac OS) (มิถุนายน ค.ศ. 1994)
·         Adobe Illustrator 4.1 (Windows) (ค.ศ. 1995)
·         Adobe Illustrator 6.0 (Mac OS) (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996)
·         Adobe Illustrator 7.0 (Mac/Windows) (พฤษภาคม ค.ศ. 1997)
·         Adobe Illustrator 8.0 (Mac/Windows) (กันยายน ค.ศ. 1998)
·         Adobe Illustrator 9.0 (Mac/Windows) (มิถุนายน ค.ศ. 2000)
·         Adobe Illustrator 10.0 (Mac/Windows) (พฤศจิกายน ค.ศ. 2001)
·         Adobe Illustrator CS (Mac/Windows) (11.0) (ตุลาคม ค.ศ. 2003)
·         Adobe Illustrator CS2 (Mac/Windows) (12.0) (เมษายน ค.ศ. 2005)
·         Adobe Illustrator CS3 (Mac/Windows) (13.0) (มีนาคม ค.ศ. 2007)
·         Adobe Illustrator CS4 (Mac/Windows) (14.0) (มีนาคม ค.ศ. 2009)
·         Adobe Illustrator CS5 (Mac/Windows) (15.0) (มีนาคม ค.ศ. 2010)
·         Adobe Illustrator CS6 (Mac/Windows) (16.0) (มีนาคม ค.ศ. 2012)
·         Adobe Illustrator CC (Mac/Windows) (17.0) (มีนาคม ค.ศ. 2015)

งานสิ่งพิมพ์                                                                                                 
ไม่ว่าจะเป็นงานโฆษณา โบร์ชัวร์ นามบัตร หนังสือ หรือนิตยสาร เรียกได้ว่าเกือบทุกสิ่งพิมพ์ที่ต้องการความคมชัด

งานออกแบบทางกราฟิก
การสร้างภาพสามมิติ การออกแบบปกหนังสือ การออกแบบสกรีน CD-ROM และการออกแบบการ์ดอวยพร ฯลฯ

งานทางด้านการ์ตูน
ในการสร้างภาพการ์ตูนต่างๆนั้น โปรแกรม Illustrator ได้เข้ามามีบทบาทและช่วยในการวาดรูปได้เป็นอย่างดี

งานเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต
ใช้สร้างภาพตกแต่งเว็บไซต์ไม่ว่าจะเป็น Background หรือปุ่มตอบโต้แถบหัวเรื่องตลอดจนภาพประกอบต่างๆ ที่ปรากฎบนหน้าเว็บ



แนะนำเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Illustrator

สิ่งที่อยากแนะนำเป็นเรื่องแรกก็อยากจะแนะนำเครื่องมือของโปรแกรม Illustrator ก่อนซึ่งถ้าใช้ไปบ่อยๆก็จะสามารถจำได้โดยที่ไม่ต้องมานั่งจดนั่งจำเอา





รูปภาพที่  2  เครื่องมือโปรแกรม Adobe Illustrator



ส่วนประกอบของกล่องเครื่องมือ
Selection tool เครื่องมือกลุ่มนี้ว่าด้วยเรื่องการเลือกวัตถุ ประกอบไปด้วย
 Selection tool  (ลูกศรสีดำ)ใช้เลือกวัตถุทั้งชิ้น

Direct-selection tool  (ลูกศรขาว)ใช้เลือก points หรือ path ของวัตถุ (กดคีย์ Alt)

   
Magic wand tool(ไม้เท้าวิเศษ)เป็นเครื่องมือใหม่ ใช้เลือกวัตถุที่มีสีเดียวกัน การใช้งานเหมือนใน    
Photoshop (กดคีย์ Alt และ Shift)


   
Lasso tool ใช้เลือกโดยการคลิกเมาส์ Drag การใช้งานเหมือนใน Photoshop (กดคีย์ Alt และ Shift)





Create tool เครื่องมือกลุ่มนี้ว่าด้วยการสร้าง objects ไม่ว่าจะเป็นเส้น รูปทรงต่างๆ และตัวหนังสือ
Pen tool สร้างเส้น parth อย่างแม่นยำ โดยการใช้แขน มีผลทำให้ object มีจุดน้อย-น้อยมาก ส่วนเครื่องมือย่อยจะเอาไว้ใช้ปรับแต่ง curved ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มจุด ลบจุด หักแขนของแกนเส้นสัมผัส (กดคีย์ Alt)


  Type tool ใช้พิมพ์ตัวหนังสือ ข้อความต่างๆ ส่วนเครื่องมือย่อย ก็ง่ายๆตามรูป ใช้พิมพ์ตัวหนังสือให้อยู่ในกรอบบ้าง ทำตัวอักษรวิ่งตาม paths บ้าง ซึ่งผมจะไม่อธิบายมากเพราะ ไอคอนก็ง่ายต่อการจดจำอยู่แล้ว 
  
Line segment tool อันนี้ไว้ลากเส้นตรง ในรายละเอียดของเครื่องมือย่อยก็ไม่มีอะไรมาก เช่นไว้ทำขดก้นหอย ทำ grid ของตารางหมากรุก grid แบบใยแมงมุม 

Basic shape tool เอาไว้วาดรูปทรงพื้นฐาน 3-4-หลายเหลี่ยม และวงกลม shape รูปดาว แต่ที่เด่นที่สุดคือ flare tool ใช้สร้างเอฟเฟค lens-flare (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)

Paintbrush tool แปรงที่เอาไว้สร้างเส้น parth โดยการ drag เมาส์ลากอย่างอิสสระ สามารถใช้ brush แบบพิเศษ (กดคีย์ Alt)  
 Pencil tool จะคล้ายๆ paintbrush tool แต่จะมีเครื่องมือย่อยให้เรียกใช้ในการแก้ไขเส้น ซึ่งจะช่วยในการปรับแต่งแก้ไข และทำให้งานดูดี+เร็วขึ้น (กดคีย์ Alt)




Transform tool เครื่องมือกลุ่มนี้ใช้ในการปรับแต่งรูปทรงของวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นหมุน เอียง บิด กลับด้าน ย่อ ขยาย นอกจากนี้ยังมีเอฟเฟคต่างๆด้วย 

   
Rotate tool ใช้ในการหมุนวัตถุ โดยการกำหนดจุดหมุนก่อนแล้วจึงทำการหมุน ซึ่งสามารถกำหนดได้ว่าต้องการหมุนกี่องศา (กดคีย์ Alt)

Reflect tool ใช้ในการกลับด้านของวัตถุ (กดคีย์ Alt)

Twist tool ใช้ในการบิดวัตถุ โดยการกำหนดจุดก่อนแล้วจึงทำการบิด ซึ่งสามารถกำหนดได้ว่าต้องการบิดมากน้อย (กดคีย์ Alt)



Scale tool ปรับย่อขยายวัตถุ (กดคีย์ Alt และ Shift)

 Shear tool ใช้เอียงวัตถุ (กดคีย์ Alt)
  
Reshape tool ใช้เพิ่มจุด และดึงยืดวัตถุ



The warp tool ใช้โน้มวัตถุให้บิดเบี้ยว (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)

  
Twirl tool ทำให้วัตถุบิดตามจุดที่กำหนด (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)

   
Pucker tool ดึงดูดจุดให้เข้าสู่จุดศูนย์กลาง (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)


   
Bloat tool ทำให้วัตถุแบออก (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)


Crystallize tool ขยายวัตถุให้ออกจากศูนย์กลางพร้อมกับสร้างรอยหยัก (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)

Wrinkle tool สร้างคลื่นให้วัตถุ (กดคีย์ Alt หรือ Shift และ Alt+Shift)



   
Free transform tool ย่อ ขยาย หมุน เอียง วัตถุ โดยอิสระ                                                                                                                

Mesh tool เป็นเครื่องมือสีที่เจ๋งสุดขีด(แต่ควบคุมยากเหมือนกัน)โดยการสร้าง point และมีแกนในการควบคุม (กดคีย์ Alt และ Shift)

 
 Gradient tool เครื่องมือไล่ระดับสี ซึ่งมีการไล่ระดับอยู่ด้วยกัน แบบ คือ Linear และ Radial ใช้การลากจากจุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดที่จุดปล่อยเมาส์ ในการควบคุมการไล่ระดับของสี (กดคีย์ Shift)  

 Eyedropper tool หลอดดูดสี ใช้ copy สีของวัตถุ สามารกำหนดได้ด้วยว่าจะ copy ลักษณะอย่างไร อะไรบ้าง (กดคีย์ Alt และ Alt+Shift)
 Paint bucket tool ส่วนใหญ่จะใช้ควบคู่กับ eyedropper tool โดยใช้เทสีลงบนวัตถุ (กดคีย์ Alt)
  
Measure tool เครื่องมือวัดขนาด (กดคีย์ Shift)



Blend tool เครื่องมือไล่ระดับการเปลี่ยนรูปร่างและสี สามารถควบคุมการไล่ระดับได้ ชนิด 



Paint color tool เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้จัดการเรื่องของสี
    
 Mesh tool เป็นเครื่องมือสีที่เจ๋งสุดขีด(แต่ควบคุมยากเหมือนกัน)โดยการสร้าง point และมีแกนในการควบคุม (กดคีย์ Alt และ Shift)
   

  Paint bucket tool ส่วนใหญ่จะใช้ควบคู่กับ eyedropper tool โดยใช้เทสีลงบนวัตถุ (กดคีย์ Alt)

 Gradient tool เครื่องมือไล่ระดับสี ซึ่งมีการไล่ระดับอยู่ด้วยกัน แบบ คือ Linear และ Radial ใช้การลากจากจุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดที่จุดปล่อยเมาส์ ในการควบคุมการไล่ระดับของสี (กดคีย์ Shift)


Eyedropper tool หลอดดูดสี ใช้ copy สีของวัตถุ สามารกำหนดได้ด้วยว่าจะ copy ลักษณะอย่างไร อะไรบ้าง (กดคีย์ Alt และ Alt+Shift)

   Measure tool เครื่องมือวัดขนาด (กดคีย์ Shift)

  Blend tool เครื่องมือไล่ระดับการเปลี่ยนรูปร่างและสี สามารถควบคุมการไล่ระดับได้ ชนิด
  




  Auto trace tool ใช้ในการ trace จากภาพต้นฉบับที่เป็น bitmap ไปเป็น Vector ซึ่งเป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกสำหรับคนขี้เกียจโดยเฉพาะ

View tool กลุ่มเครื่องมือกลุ่มนี้จะเน้นที่มุมมองเป็นหลัก

  Slice tool ใช้เกี่ยวกับการตัดแบ่งภาพออกเป็นส่วนๆ ใช้ในงานเว็บ

  Scissors tool ใช้คลิกบริเวณ outine ของวัตถุเพื่อกำหนดจุดตัด จุดเพื่อแยกวัตถุออกจากกัน (กดคีย์ Alt)
  
Knife tool ใช้ drag ลากผ่านวัตถุเพื่อแยกวัตถุออกจากกันเป็น ส่วน โดยจะทำการ close paths ให้เราโดยอัตโนมัติ (กดคีย์ Alt)

Hand tool ใช้เลื่อนดูบริเวณพื้นที่การทำงานบนหน้าจอ (กดคีย์ Spacebar)

  Page tool ใช้กำหนด print size


Zoom tool ใช้ย่อ และ ขยายพื้นที่การทำงาน (กดคีย์ Ctrl+Spacebar และ Ctrl+Alt+Spacebar)



ทำความเข้าใจกับชนิดของไฟล์
ในระบบปฏิบัติการ Windows มีรูปแบบการเก็บไฟล์ในลักษณะต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน เราเรียกว่า Format จะใช้ตัวอักษร ตัว เช่น .doc หมายถึงไฟล์งานเอกสาร .tiff หมายถึงไฟล์รูปภาพ ในโปรแกรมIllustrator จะมี Format ที่สำคัญๆดังนี้คือ

1.  EPS File Encspsulated Postcript  เป็นไฟล์ที่บรรจุข้อมูลเป็นได้ทั้งแบบเวกเตอร์และบิตแม็พการที่มีคุณสมบัติเช่นนี้จะทำให้EPSไฟล์เป็น เหมือนไฟล์ตัวเชื่อมที่สามารถทำงานข้ามโปรแกรมได้ได้แก่ Adobe Illustrator ซึ่งเป็นโปรแกรมที่เรากำลังใช้อยู่ และ Adobe Dimensions

2.  PDF Portabledocument Format  เป็นไฟล์เอนกประสงค์ที่สามารถทำงานข้ามโปรแกรมข้ามระบบปฏิบัติการแต่ยังแสดงผลข้อมูลได้อย่างแม่นยำไม่ว่าจะเป็นเรื่องฟอนต์เรื่องการวางเลเยอร์รวมถึงภาพทั้งที่เป็นแบบเวกเตอร์และแบบบิตแม็พนอกจากนี้ยังสามารถใช้บรรจุในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทำให้สามารถค้นหาและเชื่อมโยงข้อมูลได้โดยส่วนใหญ่มักใช้เป็นไฟล์พื้นฐานในโปรแกรมAdobeAcrobat

3.  AI Illustrator File  เป็นไฟล์พื้นฐานของโปรแกรม Illustrator สามารถเก็บบันทึกคุณลักษณะต่างๆที่ใช้ใน Illustratorได้ว่าจะเป็น Layer , สี หรือ Effect ต่างๆ ฯลฯ เพื่อเราจะสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขภาพอย่างต่อเนื่องแต่มีข้อเสียคือ ไฟล์ AIจะใช้ได้เฉพาะกับโปรแกรม Illustrator เท่านั้น ถ้าจะนำไปใช้ในโปรแกรมอื่นๆต้องบันทึกเป็น Format อื่น จึงจะนำไปใช้ได้


Illustrator  โปรแกรม Illustrator เป็นโปรแกรมสำหรับสร้างภาพลายเส้นที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงานกราฟิกแบบ มิติต่างๆ เช่น การสร้างโล้โก้สินค้า จนไปถึงการจัดเลย์เอาต์งานสิ่งพิมพ์ และมีเครื่องมือที่ช่วยเหลือในงานเว็บไซต์อีกด้วย